E-mail : wachana_kho@dusit.ac.th , kwachana@hotmail.com
Website :
โทรศัพท์ : 02 244 5690 – 1
ความเชี่ยวชาญ : System Analysis and Design, Software Engineering, Data Mining, Data Analytics
การศึกษา
พ.ศ. 2545 : วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
พ.ศ. 2540 : คอ.บ (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
งานวิจัย
อรศิริ ศิลาสัย และ วัจนา ขาวฟ้า. (2563). การพัฒนาของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยการสอนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับบทเรียนออนไลน์ของนักศึกษา หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
วัจนา ขาวฟ้า. (2561). ผลของการเรียนเทคโนโลยีฐานข้อมูลที่มีต่อคุณภาพของโครงงานในรายวิชาโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2560). การใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูลในการตัดสินใจเลือกสายการเรียนที่เหมาะสมของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย และ วัจนา ขาวฟ้า. (2558). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เทคนิคแบบแบ่งกลุ่มร่วมกับเทคนิคการสอนแบบถามตอบรายบุคคล ในรายวิชาการศึกษาเฉพาะเรื่องทางด้านเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2558). ระบบสารสนเทศช่วยวิเคราะห์พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาโดยใช้ RFID กรณีศึกษานักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2557). ผลของการปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการสอนในรายวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย และ วัจนา ขาวฟ้า. (2557). ผลสัมฤทธิ์จากการเสริมความรู้ทางด้านธุรกิจผ่านมุมมองของผู้ออกแบบฐานข้อมูลให้กับนักศึกษาในรายวิชาฐานข้อมูลเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การประชุมวิชาการ/งานตีพิมพ์
นัฐยา สุวรรณเหลา วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. 2565. การเปรียบเทียบอัลกอริทึมสำหรับจำแนกสายพันธุ์มะม่วงกรณีศึกษา มะม่วงยอดนิยมในตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ. ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 10. หน้า 446 – 475
ภควัต ลิปิมงคล อรศิริ ศิลาสัย และ วัจนา ขาวฟ้า. 2565. การค้นหาอัลกอริทึมที่เหมาะสมในการจำแนกข้อมูลดัชนีมวลกายและเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายเพื่อนำมาใช้ในระบบช่วยวิเคระห์การออกกำลังกาย. ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 10. หน้า 439 – 446
ปภัสรา สีหาราช และ วัจนา ขาวฟ้า. 2565. การพัฒนาเว็บไซต์ชุมชนคนกระนวน. ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 10. หน้า 2185 – 2193
อภิรัตน์ จิรังคพาณิชย์ วิชานนท์ กุศลช่วย และ วัจนา ขาวฟ้า. 2564. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของอัลกอริทึมในการจำแนกข้อมูลความชอบของผู้ใช้บริการศูนย์อาหารมหาวิทยาลัยสวนดุสิต. การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 9. หน้า 682 – 689
นัฐยา สุวรรณเหลา วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. 2564. ระบบแจ้งเตือนการหมดอายุและการเสื่อมสภาพของยาด้วยใช้การเทคโนโลยีไอโอที. การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 9. หน้า 841 – 848
Onsiri Silasai and Wachana Khowfa. 2020. The Study on Using Biometric Authentication on Mobile Device. NU. Internation Journal of Science. Vol. 17 No.1 (January 2020 – June 2020) Page. 90 – 110
ศุภวรรณ หลงบางพลี มณีรัตน์ คำสนาม ภัทรภณ วัลแอเลาะห์ และ วัจนา ขาวฟ้า. (2563). การค้นหา Attribute ที่เหมาะสมในการใช้งานร่วมกับเทคนิคต้นไม้ตัดสินใจเพื่อการเลือกสายการเรียนของนักศึกษา การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 8 หน้า 306 – 311
ภูเพชร ชมภูมิ่ง และ วัจนา ขาวฟ้า. (2563). ระบบวิเคราะห์ความคิดเห็นออนไลน์ ใน การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 8
Onsiri Silasai and Wachana Khowfa. (2020). The use of Biometric Authentication on Mobile Device in The 1th Asia Joint Conference on Computing 2020
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2562). แบบจำลองการเลือกสายการเรียนที่เหมาะสมของนักศึกษาด้วยเทคนิคการจำแนก ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 14. หน้า 1485 – 1493 กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
วรุท ตันติอมรพงษ์ กุลชา ลายประดิษฐ์ และ วัจนา ขาวฟ้า. (2562). การระบุชนิดของต้นกระบองเพชรด้วยโครงข่ายประสาทเทียม. การประชุมวิชาการระดับชาติ The 7th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2019. หน้า 296 – 302 เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ยศนนท์ ยศยิ่งยง กิตติภพ ลิ้มนิรมล และ วัจนา ขาวฟ้า. (2562). การประยุกต์ใช้คอนโวลูชันนิวรอนเน็ตเวิร์กในระบบการตรวจสอบสถานที่สำคัญในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติ The 7th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2019. หน้า 87 – 91 เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
กันต์ คงในสุข จักรกฤษ จิตตินันท์ และ วัจนา ขาวฟ้า. (2562). ระบบตรวจจับอักษรจีนตัวย่อที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันโดยอัตโนมัติ. การประชุมวิชาการระดับชาติ The 7th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2019. หน้า 92 – 97 เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
Wachana Khowfa and Onsiri Silasai. (2562). The Efficiency of using Salt Against Password Attacking. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2562. หน้า 217 – 227
วัจนา ขาวฟ้า ภัทรพร สวนไพรินทร์ และ สุวัจชัย กมลสันติโรจน์. (2561). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเทคนิคการดึงความรู้จากข้อมูลที่เกิดจากการบันทึกไม่แน่นอน. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 10. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 347 – 350.
อรศิริ ศิลาสัย และ วัจนา ขาวฟ้า. (2561). ระบบ CAAS เพื่อติดตามพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา โดยใช้ RFID ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 3 และ การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น ครั้งที่ 4. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. หน้า 39.
วรุท ตันติอมรพงษ์ กุลชา ลายประดิษฐ์ และ วัจนา ขาวฟ้า. (2561). แอพพลิเคชั่นแจ้งขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน: Alert For Alive ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2018. กรุงเทพ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. หน้า 1193 – 1197.
จักรกฤษ จิตตินันท์ กันต์ คงในสุข และ วัจนา ขาวฟ้า. (2561). ฝากบ้านไว้กับตำรวจ: Check In, Mr. Police ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing (AUC2) 2018. กรุงเทพ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. หน้า 1198 – 1203.
Wachana Khowfa and Onsiri Silasai. (2017). The Integration of Association Rules and AHP in Cloud Service Selection. in The International Journal of Applied Engineering Research (IJAER). Vol.12 No.24 pp.15814 – 15820.
Wachana Khowfa Onsiri Silasai and Chatchada Kaewpruksapimon. (2015). QoS Based Service Selection in Cloud Environment: A Review in The International Journal of Soft Computing and Its Application. Vol. 7, No. 3, November 2015. P. 114 – 125
Wachana Khowfa Onsiri Silasai and Chatchada Kaewpruksapimon. (2015). A Review of QoS based Service Selection in Cloud Environment in the proceeding of The International Workshop on Big Data Analytics – Multi Strategy Learning Analytics for Big Data, Kuala Lumper, Malaysia. P.24
วัจนา ขาวฟ้า จีรภา เนียมฝอย และนิศารัตน์ เอกรักษา (2558). Healthy for You ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต: วันนักวิจัยวิทยาศาสตร์ 2558 ครั้งที่ 2. หน้า 32 – 33
วัจนา ขาวฟ้า และ นนทกร อนังคณกุล (2558). ระบบแนะสถานที่ท่องเที่ยวและการถ่ายภาพบนโทรศัพท์มือถือระบบปฏิบัติการ Android: Photo Guide ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต: วันนักวิจัยวิทยาศาสตร์ 2558 ครั้งที่ 2. หน้า 34 – 35
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการทำโครงงานรายวิชาสัมมนางานวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 5. หน้า 18 – 19
จิตรพัฒน์ อังสาชน วัจนา ขาวฟ้า อรศิริ ศิลาลัย และ สุวัจชัย กมลสันติโรจน์. (2555). มัคคุเทศก์เสมือนบนโทรศัพท์มือถือ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 4. หน้า 290 – 295
ตำรา/เอกสารประกอบการสอน
วัจนา ขาวฟ้า. 2559. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาฐานข้อมูลเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
วัจนา ขาวฟ้า. 2558. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
ผลงานอื่น ๆ
พ.ศ. 2564 : วิทยากร โครงการพัฒนาทักษะการบริหารการเงินในยุคดิจิทัล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
พ.ศ. 2564 : วิทยากร โครงการการส่งเสริมทักษะด้านการใช้ Digital Literacy เพื่อสู่มาตรฐานสากล (IC3) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
พ.ศ. 2554 : รางวัล “Good Paer Awards” ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย ครั้งที่ 9 (The 9th Asia Undergraduate Conference on Computing : AUC2)
พ.ศ. 2564 : Session Co-Chair การประชุมวิชาการปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 9
พ.ศ. 2564 : วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ Data Visualization เพื่อการนำเสนอข้อมูลอย่างมืออาชีพ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
พ.ศ. 2564 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 9
พ.ศ. 2563 : วิทยากร โครงการอบรมการใช้สื่อดิจิทัลในการสนับสนุนการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาวะสำหรับผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรสงคราม มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
พ.ศ. 2563 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 8
พ.ศ. 2562 : วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาคลังข้อมูลสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2562 : วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการหัวข้อการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุด้วย UML คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2562 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต ครั้งที่ 4
พ.ศ. 2562 : รางวัล “Good Paper Awards” ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 7 (The 7th ASEAN Undergraduate Conference in Computing AUCC 2019)
พ.ศ. 2562 : Session Chair การประชุมวิชาการปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 7
พ.ศ. 2562 : วิทยากร โครงการความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การยกระดับสมรรถนะวิชาชีพครูปฐมวัยมุ่งสู่การพัฒนาความเป็นเลิศ Super Teacher ในหัวข้อ ดิจิทัลคิดส์ พลิกโฉมห้องเรียน (Digital Kids for the Flipped Classroom)”
พ.ศ. 2561 : รางวัล “Very Good Paper Awards” ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 6 (The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing AUCC 2018)
พ.ศ. 2561 : รางวัล “Good Paper Awards” ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 6 (The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing AUCC 2018)
พ.ศ. 2561 : วิทยากร โครงการความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การยกระดับสมรรถนะวิชาชีพครูปฐมวัยมุ่งสู่การพัฒนาความเป็นเลิศ Super Teacher ในหัวข้อ ดิจิทัลคิดส์ พลิกโฉมห้องเรียน (Digital Kids for the Flipped Classroom)”
พ.ศ. 2561 : วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการพัฒนาคลังข้อมูลสําหรับนักศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2561 : Session Chair การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต ครั้งที่ 3
พ.ศ. 2561 : ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต ครั้งที่ 3
พ.ศ. 2561 : Session Co-Chair การประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 10 (ECTI_CARD)
พ.ศ. 2561 : วิทยากร โครงการบูรณาการวิชาการด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์สู่ธุรกิจ SME อุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา
พ.ศ. 2560 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “Green Worker” ได้รับทุนสนับสนุน ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 20 (The Fourteenth National Software Contest: NSC2018)
พ.ศ. 2559 : วิทยากร โครงการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยสวนดุสิต กิจกรรมที่ 7 ระบบการจัดเก็บและสืบค้นเอกสารอย่างเป็นระบบ
พ.ศ. 2557 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “สุดคุ้ม Smart Shopping” เข้ารอบคัดเลือก 50 ทีม ในโครงการเถ้าแก่น้อยเทคโนโลยี 2014
พ.ศ. 2557 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “ระบบแนะนำการท่องเที่ยว” ได้รับทุนสนับสนุน ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 16 (The Sixteenth National Software Contest: NSC2014) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2557 : วิทยากร โครงการ “เคล็ด (ไม่) ลับสู่สังคมธุรกิจออนไลน์” คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี
พ.ศ. 2556 : ส่งผลงาน “Flashpacker Unseen: Kho Rattanakosin” เข้าร่วมแข่งขัน โดยได้รับทุนสนับสนุนและเข้ารอบชิงชนะเลิศ ในโครงการเถ้าแก่น้อยเทคโนโลยี 2013
พ.ศ. 2555 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “เกมส์เพียงหนึ่งคลิก คิดถึงโครงการพ่อ” ได้รับทุนสนับสนุน ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 14 (The Fourteenth National Software Contest: NSC2012) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2555 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “Act-Soft : Accumulation Chinese Therapy Software” ได้รับรางวัลในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Samart Innovation Awards 2012
พ.ศ. 2553 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “ออกแบบมื้ออาหารให้ปลอดภัยไปกับผู้เชี่ยวชาญบนมือถือ” ได้รับทุนสนับสนุน ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 12 (The Twelfth National Software Contest: NSC2010) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “ระบบตรวจสอบและป้องกันการเข้าถึงเครือข่ายของคอมพิวเตอร์แปลกปลอมภายในเครือข่ายเดียว” ได้รับทุนสนับสนุนและเข้ารอบชิงชนะเลิศ ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 11 (The Eleventh National Software Contest: NSC2009) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2552 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “ตะลุยทั่วไทยไปกับเกมกระดานเว็บเซอร์วิส” ได้รับทุนสนับสนุนและเข้ารอบชิงชนะเลิศ ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 11 (The Eleventh National Software Contest: NSC2009) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551 : อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “โปรแกรมเพื่อพัฒนาการออกเสียงภาอังกฤษและแปลคำศัพท์บน Pocket PC” ได้รับทุนสนับสนุนและเข้ารอบชิงชนะเลิศ ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ที่ 10 (The Tenth National Software Contest: NSC2008) ในมหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2551