พ.ศ. 2562
วรรณพรรธน์ ริมผดี พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี พิมพ์รวี ทหารแกล้ว และ ณฐิตา อินทร์ยะ. (2563). การสร้างสื่อดิจิทัลผ่านระบบแอปพลิเคชันเพื่อส่งเสริมพนักงานที่พักเพื่อสุขภาพในเขตพื้นที่พัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา. งบประมาณการวิจัย คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2562.
ปเนต หมายมั่น. (2562). ผลการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
นิพัฒน์ มานะกจิภิญโญ. (2562). การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอนวิชาองค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
วัจนา ขาวฟ้า. (2561). ผลของการเรียนเทคโนโลยีฐานข้อมูลที่มีต่อคุณภาพของโครงงานในรายวิชาโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย. (2561). ผลสัมฤทธิ์จากการเรียนจากการจัดการเรียนการสอนแบบทีมเป็นฐานในรายวิชาการศึกษาเฉพาะเรื่องทางด้านเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
พ.ศ. 2560
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2560). การใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูลในการตัดสินใจเลือกสายการเรียนที่เหมาะสมของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. [บทความวิชาการ]
ชฎามาศ ขาวสะอาด ชวาลศักดิ์ เพชรจันทร์ฉาย พูลทรัพย์ นาคนาคา และ ทิพย์วิมล กิตติวราพล. (2560) การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตปริมณฑล (งบแผนดินปี 2560)
ชวาลศักดิ์ เพชรจันทร์ฉาย อัฐเดช วรรณสิน และ ชฎามาศ ขาวสะอาด. (2560) การพัฒนาระบบสารสนเทศอาหารริมทางสำหรับสนับสนุนการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับอาหารริมทางในกรุงเทพมหานคร (Development of Street Food Information System For Supporting Gastronomic Tourism in Bangkok)
พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี วรรณพรรธน์ริมผดี และ ดลใจ ฆารเรือง. (2560). นวัตกรรมสร้างสรรค์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3 มิติเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาะรัตนโกสินทร์อย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ : โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
พ.ศ. 2559
ชฎามาศ ขาวสะอาด ทิพย์วิมล กิตติวรพล นุจิรา รัศมีไพบูลย์ ฐิติพร ลินิฐฎา และ ชวาลศักดิ์ เพชรจันทร์ฉาย.(2559) การพัฒนาตำรับอาหารพื้นบ้านเสริมแคลเซียมสำหรับผู้สูงอายุไทย (งบแผ่นดินปี 2559)
ชวาลศักดิ์ เพชรจันทร์ฉาย, จุฑาวุฒิ จันทรมาลี และนภัสรัณย์ ชัชวาลานนท์. (2559). ภาพลักษณ์ของประเทศไทยด้านการท่องเที่ยวผ่านทัศนะของผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี ดลใจ ฆารเรือง และ วรรณพรรธน์ ริมผดี. (2559). การพัฒนาระบบนำทางการท่องเที่ยวของจังหวัดราชบุรีบนสมาร์ทโฟน. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี, วรรณพรรธน์ ริมผดี และ ดลใจ ฆารเรือง (2559). นวัตกรรมสร้างสรรค์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3 มิติเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาะรัตนโกสินทร์อย่างยั่งยืน. โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา (สกอ.)
พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี และ นงเยาว์ นุชนารถ. (2559). การพัฒนาแอปพลิเคชันพิชิตแดนอาเซียนเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ณัฏฐา ผิวมา และ ปริศนา มัชฌิมา. (2559). การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาในหัวข้อการทำบาตรของชุมชนบ้านบาตร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ณัฏฐา ผิวมา. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน สําหรับวิชาระบบชาญฉลาดเรื่องการแก้ปัญหาด้วยการค้นหา ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
พ.ศ. 2558
ชวาลศักดิ์ เพชรจันทร์ฉาย จุฑาวุฒิ จันทรมาลี และ นภัสศรัณย์ ชัชวาลานนท์. (2558) ภาพลักษณ์ของประเทศไทยด้านการท่องเที่ยวผ่านความคิดเห็นของผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Tourism Destination Image of Thailand Under the Users’ Opinions in Social Media)
อรศิริ ศิลาสัย และวัจนา ขาวฟ้า. (2558). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เทคนิคแบบแบ่งกลุ่มร่วมกับเทคนิคการสอนแบบถามตอบรายบุคคล ในรายวิชาการศึกษาเฉพาะเรื่องทางด้านเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
วัจนา ขาวฟ้า และอรศิริ ศิลาสัย. (2558). ระบบสารสนเทศช่วยวิเคราะห์พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาโดยใช้ RFID กรณีศึกษานักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ณัฏฐา ผิวมา และคณะ. (2558). การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ณัฏฐา ผิวมา. (2558). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) ในวิชาปัญญาประดิษฐ์กับการพัฒนาเกม ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี, ดลใจ ฆารเรือง และ วรรณพรรธน์ ริมผดี. (2558). การพัฒนาระบบนำทางการท่องเที่ยวของจังหวัดราชบุรีบนสมาร์ทโฟน. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ศิริพร ฉิมพลี. (2558). การพัฒนาตัวแบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบอัตโนมัติออนไลน์สำหรับการเลือกหลักสูตรที่เหมาะสมในการเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยใช้เทคนิคเหมืองข้อมูล. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
พ.ศ. 2557
วัจนา ขาวฟ้า และ อรศิริ ศิลาสัย. (2557). ผลของการปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการสอนในรายวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
อรศิริ ศิลาสัย และ วัจนา ขาวฟ้า. (2557). ผลสัมฤทธิ์จากการเสริมความรู้ทางด้านธุรกิจผ่านมุมมองของผู้ออกแบบฐานข้อมูลให้กับนักศึกษาในรายวิชาฐานข้อมูลเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ณัฏฐา ผิวมา และ ศิริลักษณ์ หล่อพันธ์มณี. (2557). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาโปรแกรมเอสคิวแอลเรื่องการสอบถามข้อมูลแบบมีเงื่อนไข และแบบจัดกลุ่มข้อมูล ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
พ.ศ. 2556
ณัฏฐา ผิวมา และ ศิริลักษณ์ หล่อพันธ์มณี. (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการเรียนรู้ด้วยการสอนแบบบรรยายในการสร้างสรรค์ผลงานคอมพิวเตอร์กราฟิกของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. [/toggle]
พ.ศ. 2555
วิชชา ฉิมพลี สุระสิทธิ์ ทรงม้า อรศิริ ศิลาสัย พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี และ ดลใจ ฆารเรือง. (2555). การออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตำบลโคกโคเฒ่า จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
สุวัจชัย กมลสันติโรจน์ พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี ณัฐติกา ขัติยะ และ รัตนากร ผลเผดิมยศ. (2555). ศูนย์บริการข้อมูลและวางแผนการท่องเที่ยวอย่างพอเพียง. กรุงเทพฯ : สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) โครงการ ๘๔ โครงการ ๘๔ พรรษา มหาราชัน