[vc_row][vc_column][vc_tta_tour][vc_tta_section title=”การประชุมวิชาการ AUCC2020″ tab_id=”1534316062915-6fd155c2-5e8a”][vc_column_text]
นักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ เข้าร่วมนำเสนอบทความในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย The Asia Undergraduate Conference on Computing: AUCC ครั้งที่ 8 ณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 โดยส่งบทความร่วมนำเสนอทั้งหมด 13 เรื่อง ดังนี้
- แอปพลิเคชันแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้นำเสนอผลงาน นายวงศธร จิตรวิไลย โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์พิชญ์สินี พุทธทวีศรี เป็นที่ปรึกษา
- แอปพลิเคชัน AR ไหว้พระ 9 วัด ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้นำเสนอผลงาน นายสิริชัย เฮงอาภรณ์ โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์พิชญ์สินี พุทธทวีศรี เป็นที่ปรึกษา
- เกมคณิตศาสตร์ผจญภัย ผู้นำเสนอผลงาน นายชัยกิตติ์ พิพัฒน์ผลสกุล โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี เป็นที่ปรึกษา
- การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง สะดวก สบาย แต่ทำลายโลก ผู้นำเสนอผลงาน นางสาวทิชากร เพ็งพุฒ โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐา ผิวมา เป็นที่ปรึกษา
- ระบบเปิด – ปิดไฟอัตโนมัติโดยใช้ Google Assistant ผู้นำเสนอผลงาน นายกฤตพล พันสีนาม โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ปเนต หมายมั่น เป็นที่ปรึกษา
- เครื่องตรวจจับคุณภาพอากาศและเครื่องพ่นน้ำอัตโนมัต ผู้นำเสนอผลงาน นายยุทธพิชัย บุญสงค์ โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์นิพัฒน์ มานะกิจภิญโญ เป็นที่ปรึกษา
- แอปพลิเคชันค้นหาและนำทางด้วยเสียงไปยังสถานที่เป้าหมายภายใน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ผู้นำเสนอผลงาน นายณัฐพงษ์ สุขประเสริฐ โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี เป็นที่ปรึกษา
- เกมวิทยาศาสตร์ผจญภัย ผู้นำเสนอผลงาน นายวิกรม กองเนียม โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี เป็นที่ปรึกษา
- ระบบวิเคราะห์ความคิดเห็นออนไลน์ ผู้นำเสนอผลงาน นายภูเพชร ชมภูมิ่ง โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์วัจนา ขาวฟ้า เป็นที่ปรึกษา
- การค้นหา Attribute ที่เหมาะสมในการใช้งานร่วมกับเทคนิคต้นไม้ตัดสินใจเพื่อการเลือกสายการเรียนของนักศึกษา ผู้นำเสนอผลงาน นางสาวศุภวรรณ หลงบางพลี โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์วัจนา ขาวฟ้า เป็นที่ปรึกษา
- การเปรียบเทียบเทคนิคเหมืองข้อมูลเพื่อหาความแม่นยำในการทำงานของ ระบบเปิด – ปิดไฟอัตโนมัติ โดยใช้ Google Assistant ผู้นำเสนอผลงาน นายกฤตพล พันสีนาม โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์อรศิริ ศิลาสัย เป็นที่ปรึกษา
- การเปรียบเทียบการใช้จังหวะการพิมพ์เพื่อยืนยันตัวตนของผู้ใช้บนโทรศัพท์มือถือ ผู้นำเสนอผลงาน นายปุริม ภูมิวนา โดยมี ดร.ชวาลศักดิ์ เพชรจันทร์ฉาย และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรศิริ ศิลาสัย เป็นที่ปรึกษา
- ฝึกทักษะกระบวนการคิดสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วย GOGO TO BLOCK GAME ผู้นำเสนอผลงาน นายเอกพจน์ เพชรแก้ว โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐา ผิวมา เป็นที่ปรึกษา
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section title=”การประชุมวิชาการ AUCC2019″ tab_id=”1589445418017-a9667b37-5bfd”][vc_column_text]
อาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าร่วมปฏิบัติงานและนำเสนอผลงาน ในงานประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน (The ASEAN Undergraduate Conference in Computing : AUCC2019) เพื่อเพิ่มสมรรถนะการทำงานและบริการวิชาการของบุคลากรและนักศึกษา ในการพัฒนาทักษะวิชาชีพคอมพิวเตอร์ และการนำเสนอผลงานในระดับชาติเพื่อต่อยอดในระดับนานาชาติ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จ.เชียงราย ระหว่างวันที่ 22 – 24 มีนาคม 2562 โดยมีผลงานของนักศึกษาได้รับรางวัล ดังนี้
รางวัล Very good paper จำนวน 1 ผลงาน ได้แก่ แอปพลิเคชันความจริงเสริมพยัญชนะไทย (3 – 6 ปี)
รางวัล Good paper award จำนวน 5 ผลงาน ได้แก่
- การประยุกต์ใช้คอนโวลูชันนิวรอนเน็ตเวิร์กในระบบการตรวจสอบสถานที่สำคัญในกรุงเทพมหานคร
- Ayutthaya survivor game 3D
- AR อุทยานประวัติศาสตร์เครื่องสังคโลกและอาวุธโบราณสมัยสุโขทัย
- แอปพลิเคชั่นแนะนำเเส้นทางไหว้พระ 9 วัด ฝั่งธนบุรี – ฝั่พระนคร
- แอปพลิเคชัน 236 ปี ใต้ร่มพระบารมีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
[/vc_column_text][/vc_tta_section][vc_tta_section title=”การประชุมวิชาการ AUCC2018″ tab_id=”1589445332916-f9644305-6454″][vc_column_text]นักศึกษาและอาจารย์หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ เข้าร่วมนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 6 (The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing AUCC 2018) ระหว่างวันที่ 24 – 25 มีนาคม 2561 ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง โดยได้รับรางวัลดังนี้
- Paper ในระดับ Very Good จำนวน 1 บทความ ได้แก่ บทความเรื่อง “แอพพลิเคชั่นแจ้งขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน: Alert For Alive”
- Good จำนวน 4 รางวัล ได้แก่ บทความเรื่อง “แอปพลิเคชันแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทางในเขตพระนคร” , “ระบบจัดการข้อมูลขนมอบโฮมเบเกอรี่” , “ฝากบ้านไว้กับตารวจ: Check In, Mr.Police” และ “ระบบเสมือนจริง ความจริงเสมือน และเว็บไซต์ เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม และวิถีชีวิตในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว”
นายภูริช ไวคิด ได้รับรางวัล Good Paper Award ในการประชุมวิชาการระดับชาติ The 4th ASEAN Graduate Conference in Computing (AUC2 2016)
นักศึกษาหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้รับทุนสนับสนุนในการแข่งขันโครงการแข่งขันพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15 (NSC 2013) ซึ่งจัดในปี 2555 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยอีิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) โดยมีนักศึกษาที่ผ่านการพิจารณาในรอบที่ 1 (รอบเสนอโครงการ) จำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่
1) กลุ่มโครงการ “สาด…สนุก!” โดย นายวิศรุท เสงี่ยมงาม นายนวพล สุนทรถาวร และ นายกรวิทย์ จึงอมรกิจ โดยมี อาจารย์อรศิริ ศิลาสัย เป็นที่ปรึกษาโครงการ
2) กลุ่มโครงการ “เต้นไปกับฉันนะ…!!” โดย นายนวพล พวงอาศิรพจน์ นายปกรณ์ พินิจ สามิตร์ และ นายปารัษฐ์ เวียงสงค์ โดยมี อาจารย์พิชญ์สินี พุทธิทวีศรี เป็นที่ปรึกษาโครงการ
ผลการแข่งขันในรอบแรก ทั้ง 2 โครงการได้รับทุนสนับสนุนโครงการละ 3,000 บาท และในรอบที่ 2 โครงการ “สาด…สนุก!” ได้รับรางวัลสนับสนุนจำนวนเงิน 9,000 บาท